|
|
|
การพัฒนาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการท่องเที่ยว |
|
|
|
|
|

 |
ส่งเสริมสนับสนุนศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น |

 |
ส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม และสนับสนุนภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักกัน อย่างสากล |
|
|
|

 |
ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|

 |
ก่อสร้างพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์/บำรุงรักษา สถานที่ท่องเที่ยวในเขตเมือง |
|

 |
ทำนุ บำรุง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศาสนสถานให้อยู่ในความสมบูรณ์ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน และประชาชน รวมทั้งผู้มาเยือนทั่วไป |
|

 |
พัฒนาศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรม ประเพณี และข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ สำคัญของจังหวัด เพื่อเผยแพร่โฆษณาประชาสัมพันธ์ทั้งระดับท้องถิ่น และระดับชาติ |
|

 |
ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาท้องถิ่น การวิจัยประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมท้องถิ่น และพัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างค่านิยมและวัฒนธรรม เชิดชูประเพณีรากฐานทางประวัติศาสตร์ |
|

 |
เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเพื่อเป็นพลังดึงดูดใหม่ จากทรัพยากรท่องเที่ยวทั้งภายในจังหวัด และกลุ่มจังหวัด |
|

 |
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยังยืน |
|

 |
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านการท่องเที่ยว |
|

 |
สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าการท่องเที่ยว และการบริการด้านการท่องเที่ยว |
|

 |
ส่งเสริม ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเดิม และแสวงหาแหล่งท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และที่มนุษย์สร้างขึ้นให้มีคุณภาพ |
|

 |
พัฒนาคุณภาพบุคลากรในการให้บริการ และสร้างจิตสำนึกของความเป็นเจ้าของบ้านที่ดี |
|
|
|
|
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน |
|
|
|
|
|

 |
จัดให้มีและพัฒนาโครงข่ายเส้นทางคมนาคมสายหลัก และชุมชน อย่างเป็นระบบ |

 |
ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ทางเข้า และท่อระบายน้ำให้มีมาตรฐาน |
|
|
|

 |
จัดให้มีซ่อมบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าและประปาสาธารณะ |
|

 |
จัดให้มีระบบสาธารณูปโภคให้กับชุมชนอย่างเป็นระบบ และทั่วถึง |
|

 |
พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค |
|

 |
การป้องกันและบรรเทาสาธารภัย |
|
|
|
|
พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน |
|
|
|
|
|

 |
การจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดสิงห์บุรี |

 |
บำรุงรักษาสภาพแวดล้อมลำน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
|
|

 |
ก่อสร้าง พัฒนา ปรับปรุงสวนสาธารณะ สนามเด็กเล็ก สวนสุขภาพ |
|

 |
จัดทำแนวเขื่อนป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่เสี่ยงภัย |
|

 |
การบริหารจัดการขยะ และสิ่งปฏิกูล |
|

 |
แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำในชนบท และป้องกันน้ำท่วมในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย |
|

 |
อนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว |
|

 |
ปลูกจิตสำนึกให้เกิดความตระหนัก และช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม |
|

 |
บูรณะ ฟื้นฟู พัฒนาพื้นที่เมืองและชนบทให้น่าอยู่ มีความสงบ สะอาด สะดวก และปลอดภัย |
|

 |
พัฒนาทักษะ และเพิ่มประสบการณ์ในการบริหารจัดการขยะในระดับชุมชน ใน รูปแบบของธนาคารขยะ และให้มีความเชื่อมโยงเป็นระเครือข่าย |
|

 |
ฟื้นฟูทรัพยากรดินในพื้นที่เสื่อมโทรม และการใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ |
|

 |
ฟื้นฟู และป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน โดยการใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และการปลูกหญ้าแฝกตามแนวพระราชดำริ |
|

 |
เผยแพร่ความรู้ในการฟื้นฟูบำรุงดิน รวมทั้งพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรอาสา |
|

 |
พัฒนาเครือข่ายพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมหมู่บ้าน |
|
|
|
|
การพัฒนาการเมืองการบริหารและการจัดการ |
|
|
|
|
|

 |
พัฒนาระบบบริหารองค์กรให้นำสมัยยึดหลักธรรมาภิบาล |

 |
พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนให้มีประสิทธิภาพ |

 |
การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการ |
|
|
|

 |
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทบาท อำนาจหน้าที่ของ อปท. |
|

 |
พัฒนาเครือข่ายในการประสานความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน ประชาคมในด้านการพัฒนาท้องถิ่น |
|

 |
ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อการบูรณาการร่วมกัน |
|

 |
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและพัฒนาบุคลากร |
|

 |
การพัฒนาปรับปรุงอาคารสถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ และการบริหารจังหวัดใสสะอาด |
|

 |
พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินประสิทธิภาพ และความสำเร็จของงานในองค์กร |
|
|
|
|